By LINDSEY TANNER, AP Medical Writer - Mon Apr 26, 6:26 PM PDT
CHICAGO - Four common bad habits combined — smoking, drinking too much, inactivity and poor diet — can age you by 12 years, sobering new research suggests.
The findings are from a study that tracked nearly 5,000 British adults for 20 years, and they highlight yet another reason to adopt a healthier lifestyle.
Overall, 314 people studied had all four unhealthy behaviors. Among them, 91 died during the study, or 29 percent. Among the 387 healthiest people with none of the four habits, only 32 died, or about 8 percent.
The risky behaviors were: smoking tobacco; downing more than three alcoholic drinks per day for men and more than two daily for women; getting less than two hours of physical activity per week; and eating fruits and vegetables fewer than three times daily.
These habits combined substantially increased the risk of death and made people who engaged in them seem 12 years older than people in the healthiest group, said lead researcher Elisabeth Kvaavik of the University of Oslo.
The study appears in Monday's Archives of Internal Medicine.
The healthiest group included never-smokers and those who had quit; teetotalers, women who had fewer than two drinks daily and men who had fewer than three; those who got at least two hours of physical activity weekly; and those who ate fruits and vegetables at least three times daily.
"You don't need to be extreme" to be in the healthy category, Kvaavik said. "These behaviors add up, so together it's quite good. It should be possible for most people to manage to do it."
For example, one carrot, one apple and a glass of orange juice would suffice for the fruit and vegetable cutoffs in the study, Kvaavik said, noting that the amounts are pretty modest and less strict than many guidelines.
The U.S. government generally recommends at least 4 cups of fruits or vegetables daily for adults, depending on age and activity level; and about 2 1/2 hours of exercise weekly.
Study participants were 4,886 British adults aged 18 and older, or 44 years old on average. They were randomly selected from participants in a separate nationwide British health survey. Study subjects were asked about various lifestyle habits only once, a potential limitation, but Kvaavik said those habits tend to be fairly stable in adulthood.
Death certificates were checked for the next 20 years. The most common causes of death included heart disease and cancer, both related to unhealthy lifestyles.
Kvaavik said her results are applicable to other westernized nations including the United States.
June Stevens, a University of North Carolina public health researcher, said the results are in line with previous studies that examined the combined effects of health-related habits on longevity.
The findings don't mean that everyone who maintains a healthy lifestyle will live longer than those who don't, but it will increase the odds, Stevens said.
Source:http://health.yahoo.com/news/ap/us_med_bad_habits_survival.html
วันอังคารที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2553
วันพฤหัสบดีที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2553
China Earthquake Raises Questions, Concerns
by Mike Krumboltz
Tuesday's massive earthquake in western China has left hundreds dead and thousands more injured. Both of those numbers are expected to rise in the coming days, as many victims are still trapped under collapsed buildings and rubble. Below, some of the most frequently asked questions surrounding the devastating earthquake.
Where in China was it?
The earthquake was centered near the Qinghai Province in western China. That is located right next to Tibet, the mountainous homeland of the Dalai Llama. While many people who live outside of China are aware of the country's major cities on its east coast, far fewer have any understanding of the land's geography out west. That explains the explosive searches on "china map" and "where is qinghai province."
Are we having more earthquakes?
It sure seems like it. Since the beginning of 2010, there have been four major earthquakes around the world.
1. 7.0 in Haiti on January 12, 2010.
2. 8.8 in Chile on February 27, 2010.
3. 7.2 in Mexico on April 4, 2010.
4. 6.9 in China on April 13, 2010.
All of this seismic activity has left some wondering if earthquakes are increasing in frequency, or if it just seems like they are. According to an expert from the United States Geological Survey, the recent activity is not unusual.
Geophysicist Dale Grant spoke with CNN and remarked that while it may seem like quakes are getting more frequent, the numbers are about average, historically speaking. What has changed? The quakes are striking more populated areas, which has led to more damage, more deaths, and, as a consequence, far more news coverage. It might seem like we're getting a lot more earthquakes, but they're actually just causing more damage due to where they are striking.
How does the China earthquake compare to other recent disasters?
The Haiti earthquake measured 7.0, and claimed the lives of over 220,000 people. Why the high death toll? The quake struck near the nation's densely-populated capital, Port Au Prince. Also, Haiti is a very poor country, with few seismically-safe buildings. With so many people living so close together in buildings that were not built to withstand intense shaking, an earthquake can exact a heavy toll.
The recent Mexico earthquake, which struck not far from the United States border, was even more powerful, measuring 7.2. Due in large to the quake being centered in a relatively desolate place, only several people were killed.
The Chile earthquake, which struck on February 27, had a magnitude of 8.8. That is almost 100 times stronger than the recent 6.9 China quake (each full point represents a tenfold increase in power). Still, for such a massive quake, a comparatively small number of people were killed. That's thanks to Chile's strict building codes and the fact that the quake struck off the country's coast. A tsunami did result, which was responsible for nearly half of the deaths associated with the quake.
Which countries have the most earthquakes?
Difficult to say. According to the USGS, Indonesia has the most earthquakes overall, but China and Iran tend to suffer the most catastrophic earthquakes.
How can you prepare for an earthquake?
It's impossible to predict when an earthquake will strike. But experts say that anyone living in a dangerous area should be prepared. For people in the United States, disaster experts recommend they be prepared to spend 72 hours on their own in the event of an earthquake, tornado, hurricane, flood, etc. You can read more at 72hours.org, a site put together by the city of San Francisco.
How can you help?
The relief effort is just beginning. Due to the isolated location of the Qinghai Province, it will be difficult to get assistance to the victims. You can help the relief effort via the Red Cross.
Source: http://buzz.yahoo.com/buzzlog/93573?fp=1
วันพุธที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2553
ไขมันพอกตับ
พญ.วิภากร ชูแสง แพทย์ผู้เชี่ยวชาญระบบทางเดินอาหารและตับ กล่าวกับ Better Health ว่า “ภาวะไขมันพอกตับในผู้ที่ไม่ดื่มแอลกอฮอล์ หรือ NAFLD เป็นชื่อเรียกรวมของความผิดปกติที่เกิดกับตับซึ่งเริ่มจากไขมันพอกตับ ซึ่งสามารถนำไปสู่ภาวะตับวายและมะเร็งตับ
จะเห็นได้ว่าความผิดปกติและพัฒนาการของ โรคเกิดขึ้นเช่นเดียวกับผู้ป่วยโรคตับกลุ่มที่ดื่มสุราเป็นประจำ สิ่งที่น่ากลัวสำหรับภาวะไขมันพอกตับในผู้ไม่ดื่มสุราก็คือผู้ป่วยมักจะไม่ ทราบมาก่อนว่าเกิดความผิดปกติกับตับของตนเข้าแล้ว เลยไม่ได้ใส่ใจหรือสนใจจะรักษาจนกระทั่งตรวจพบโดยบังเอิญ”
ปัจจุบัน ประเทศไทย พบภาวะไขมันพอกตับได้มากขึ้นตามแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นของเมตาโบลิกซินโดรม ซึ่งได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไขมันในโลหิตสูงซึ่งมักจะเกิดขึ้นในวัยกลางคนอายุประมาณ 45 ถึง 50 ปีขึ้นไป ที่อัตราการเผาผลาญอาหารเริ่มลดลง
ภาวะไขมันพอกตับ แบ่งระยะการดำเนินโรคได้เป็น 4 ระยะ ได้แก่
* ระยะแรก เป็นระยะมีไขมันก่อตัวอยู่ในเนื้อตับ ซึ่งไม่ได้ก่อให้เกิดผลใด ๆ กล่าวคือ ไม่มีการอักเสบ หรือพังผืดเกิดขึ้นในตับ
* ระยะที่สอง เป็นระยะที่เริ่มมีอาการอักเสบของตับ ในระยะนี้หากไม่ควบคุมดูแลให้ดี และปล่อยให้การอักเสบดำเนินไปเรื่อย ๆ เกินกว่า 6 เดือนกลายเป็นตับอักเสบเรื้อรัง
* ระยะที่สาม การอักเสบรุนแรง ก่อให้เกิดพังผืดในตับ เซลล์ตับค่อย ๆ ถูกทำลายลง
* ระยะที่สี่ เซลล์ตับถูกทำลายไปมาก ตับไม่อาจทำงานได้ตามปกติอีกต่อไป ตับแข็ง และอาจกลายเป็นมะเร็งตับ
พญ.วิภากรอธิบายเพิ่มว่า “เนื่องจากโรคตับนั้นเป็นโรคที่มีการดำเนินโรคค่อนข้างช้า กล่าวคือ เมื่อเกิดภาวะไขมันพอกตับแล้ว ไม่ใช่ว่าใช้เวลาแค่ 1 หรือ 2 ปีจะเกิดปัญหา ต้องใช้เวลานานกว่าโรคจะดำเนินไปอีกขั้น เช่น หากมีปัญหาตับอักเสบติดต่อกันนานเกินกว่า 6 เดือน จัดว่าเป็นโรคตับอักเสบเรื้อรัง และกว่าที่จะพัฒนาต่อไปเป็นโรคตับแข็งขั้นที่ 1 ก็อาจใช้เวลาเป็น 10 ปี แล้วจึงค่อยพัฒนาต่อไปเป็นขั้นที่ 2 และ 3 ซึ่งก็จะมีอาการบ่งชี้เพิ่มเติม คือ อาการตัวเหลือง ตาเหลือง มีน้ำในท้องมากขึ้น จนถึงระยะสุดท้ายคือความรู้สึกตัวลดลง อันนี้แสดงให้เห็นว่าประสิทธิภาพของตับแย่ลง”
สำหรับสาเหตุอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากเมตาโบลิกซินโดรม ไขมันในเลือดสูง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้แก่ การรับประทานยาบางชนิด ซึ่งอาจเป็นสาเหตุที่ทำให้มีไขมันมาพอกตับมากขึ้น อาทิ ยากลุ่มเสตียรอยด์ ยากลุ่มที่เป็นฮอร์โมนทดแทน เป็นต้น
การวินิจฉัย
โดยทั่วไปเมื่อเกิดภาวะไขมันพอกตับขึ้นมา ส่วนมากแล้วจะไม่มีอาการทางร่างกายแต่อย่างใด หรืออาจมีอาการแต่เป็นอาการที่ไม่เฉพาะเจาะจงมากพอที่จะบ่งบอกโรคได้ “ไม่ใช่ว่าผู้ป่วยทุกรายจะมีอาการ บางรายมีอาการเล็ก ๆ น้อย ๆ แทบไม่เป็นที่สังเกต เช่น อ่อนเพลีย คลื่นไส้ เล็กน้อย ตึง ๆ บริเวณใต้ชายโครงขวา ตอนนี้ถ้าตรวจเลือดดูจะพบว่าเอนไซม์ตับผิดปกติ ซึ่งแสดงถึงภาวะตับอักเสบ และเนื่องจากภาวะไขมันพอกตับนี้แทบจะไม่มีอาการ ผู้ป่วยส่วนมากมักจะพบความผิดปกติเมื่อมารับการตรวจสุขภาพประจำปี” พญ.วิภากร กล่าว
นอกจากการตรวจเลือดซึ่งจะทำให้แพทย์ทราบถึงระดับ น้ำตาล ไขมัน และค่าเอนไซม์ของตับแล้ว การวินิจฉัยภาวะไขมันพอกตับยังสามารถทำได้โดยการตรวจอัลตร้าซาวด์ ตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งการเจาะชิ้นเนื้อตับมาตรวจ ซึ่งจะช่วยประเมินความรุนแรงของโรคได้
การรักษา
แม้ความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับตับจะมีการ ดำเนินโรคค่อนข้างช้า แต่การตรวจพบความผิดปกติตั้งแต่ระยะแรกเริ่มก็เป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง เช่นเดียวกับการให้การรักษาที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วย เป้าหมายของการรักษาอยู่ที่การลดไขมันสะสมและลดการอักเสบของตับในรายที่มี การอักเสบร่วมด้วย เพื่อหยุดยั้งการดำเนินโรคต่อไป
“แม้ว่าแพทย์จะพบการอักเสบของตับจากการ ตรวจเลือด และพบภาวะไขมันพอกตับจากการทำอัลตร้าซาวด์ แพทย์จะยังไม่สรุปว่าการอักเสบของตับเป็นผลโดยตรงจากภาวะไขมันพอกตับจนกว่า จะตรวจสอบเพื่อหาสาเหตุอื่น ๆ ที่เป็นไปได้อีก อาทิ ไวรัสตับอักเสบ โรคภูมิคุ้มกันทำลายตัวเอง หรือโรคที่มีเหล็กและทองแดงสะสมในร่างกายมากเกินไป หรือการที่ผู้ป่วยรับประทานยาที่มีผลต่อตับ เช่น พวกอาหารเสริม ยาสมุนไพรบางชนิด ซึ่งเมื่อหยุดยาเหล่านี้แล้วการอักเสบของตับอาจหายไปเองก็เป็นได้ แม้ผู้ป่วยจะยังมีไขมันพอกตับอยู่” พญ.วิภากร กล่าว
“ผู้ป่วยที่มีไขมันในตับแต่ไม่ได้มีตับ อักเสบก็ไม่จำเป็นต้องรับประทานยา เพียงลดน้ำหนัก ออกกำลังกาย ลดอาหารหวาน อาหารมัน อย่ารับประทานแป้งมาก ไขมันในตับก็จะลดลงไปได้” พญ.วิภากร อธิบาย “ส่วนมากผู้ป่วยที่มาพบหมอ และได้รับคำแนะนำให้กลับไปลดน้ำหนักนั้นจะทำไม่ค่อยได้
หมอจึงต้องให้ยาช่วยซึ่งมีอยู่ หลายกลุ่ม เช่น ยากลุ่มที่ช่วยเรื่องเบาหวานและลดไขมันในตับร่วมกันซึ่งไม่เหมือนกับยาเบา หวานทั่วไป หรือผู้ป่วยที่มีปัญหาเรื่องความดันโลหิตสูงก็ต้องได้รับยาที่ช่วยเรื่อง ความดันโลหิตสูงที่ช่วยลดไขมันในตับด้วย เช่นเดียวกับผู้ที่มีปัญหาเรื่องไขมันในเลือด แต่จะให้ดีที่สุดก็คือ ลดอาหารหวาน ลดอาหารมัน และออกกำลังกายค่ะ”
ลด ความเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
เนื่องจากสาเหตุหนึ่งของภาวะไขมันพอกตับ เกี่ยวข้องกับเมตาโบลิกซินโดรม อาทิ เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นความผิดปกติที่สามารถ ควบคุมให้ดีขึ้นได้ ส่งผลให้ภาวะไขมันพอกตับดีขึ้นตามมา
พญ.วิภากรแนะนำแนวทางการป้องกันตัวเอง และลดความเสี่ยงไว้ ดังนี้
* พยายามลดลดน้ำหนักให้ได้ แต่ต้องอยู่ในระดับปลอดภัย เช่น สัปดาห์ละไม่เกิน 0.5 กิโลกรัม
* ออกกำลังกายอย่างพอเหมาะเป็นประจำ
* ผู้ป่วยเบาหวาน และไขมันในเลือดสูงต้องควบคุมโรคให้ดี ทั้งนี้ต้องอาศัยการทำงานร่วมกันของยา การควบคุมอาหาร และการออกกำลังกาย
* ลด และเลิกการดื่มสุรา ซึ่งจะเป็นการเพิ่มภาระให้ตับมากยิ่งขึ้น
* หลีกเลี่ยงการรับประทานยา หรืออาหารเสริมที่ไม่จำเป็น โดยเฉพาะอาหารเสริมประเภทน้ำมันต่าง ๆ เช่น น้ำมันปลา น้ำมันอีฟนิ่งพริมโรส และสมุนไพรต่าง ๆ
* ป้องกันตัวเองจากการติดเชื้อ เช่น ตรวจดูว่าตนมีภูมิคุ้มกันต่อไวรัสตับอักเสบหรือไม่ หากไม่มีควรฉีดวัคซีน มีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย ระมัดระวังเป็นพิเศษเมื่อต้องทำฟันและทำเล็บ
* อย่าละเลยการตรวจสุขภาพประจำปี ผู้ป่วยไขมันพอกตับส่วนมากจะทราบเมื่อมารับการตรวจสุขภาพประจำปี ซึ่งผลการตรวจแสดงค่าเอนไซม์ของตับ (AST และ ALT) ผิดปกติ (มากกว่า 40)
การดูแลสุขภาพตับ ไม่ได้ต้องการมากไปกว่าการดูแลสุขภาพร่างกายตามปกติดังที่กล่าวข้างต้น มาถึงตรงนี้ไม่ใช่แค่ผู้ดื่มสุราและผู้มีปัญหาเรื่องน้ำหนักเท่านั้นที่ต้อง ระวังเรื่องภาวะไขมันพอกตับ แม้ผู้ที่มีน้ำหนักปกติแต่มีปัญหาเรื่องไขมันในเลือดสูง หรือผู้ที่รับประทานยาและอาหารเสริมอย่างรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ก็อยู่ในกลุ่มที่ต้องระวังให้มากไม่แพ้กัน
สัญญาณ ต่อไปนี้ อาจบ่งชี้ว่าตับของคุณเริ่มมีปัญหา
* คุณมีน้ำหนักมาก และมีไขมันสะสมที่หน้าท้อง
* คุณลดน้ำหนักอย่างไรก็ไม่ลง
* คุณมีระดับคอเลสเตอรอล และไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง
* คุณเป็นเบาหวาน
* คุณรู้สึกเหนื่อย และอ่อนเพลีย
* คุณรู้สึกเจ็บตึง ๆ ที่ชายโครงขวา
* คุณมีอาการเบื่ออาหาร รับประทานอาหารไม่ลงและคลื่นไส้เป็นบางครั้ง
คุณทราบหรือไม่
* ภาวะไขมันพอกตับพบได้บ่อย โดยในสหรัฐอเมริกาพบประมาณร้อยละ 15 ถึง 20 ของจำนวนประชากร (U.S. Liver Foundation)
* ในประเทศไทย อัตราของจำนวนผู้ป่วยเบาหวานซึ่งเป็นความเสี่ยงที่สำคัญประการหนึ่งของภาวะ ไขมันพอกตับที่พบในประชากรที่มีอายุตั้งเเต่ 35 ปีขึ้นไปทั้งเก่าเเละใหม่ อยู่ที่ร้อยละ 9.6 (2547: สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน)
* ผู้ป่วยไขมันพอกตับกว่าร้อยละ 50 ไม่แสดงอาการโดยเฉพาะในกลุ่มที่เป็นไขมันพอกตับระยะแรก (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ)
* ผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง อาทิ คนอ้วน ผู้ป่วยเบาหวาน และผู้มีไขมันในเลือดสูง มีภาวะไขมันพอกตับถึงร้อยละ 90 ในจำนวนนี้ร้อยละ 20 มีอาการตับอักเสบร่วมด้วย และร้อยละ 10 กลายเป็นโรคตับแข็ง (MedicineNet)
* ผู้ป่วยที่มีภาวะไขมันพอกตับสามารถฟื้นฟูสภาพตับให้กลับมาดีขึ้นได้ ด้วยการลดน้ำหนักลงอย่างน้อยร้อยละ 9 (American Gastroenterological Association)
Source: http://www.bumrungrad.com/BetterHealth/DigestiveHealth/FattyLiver/FattyLiver1t.asp?utm_source=newsletter-3-2010&utm_medium=newsletter&utm_campaign=Bumrungrad-thai
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)